วันพฤหัสบดีที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


หมรับหมรับ

  • ความเป็นมา
ห. ม. รับ ที่แปลตามตัวแล้วนั้น นั้นหมายถึงเสลี่ยงที่ประกอบตกและโดยอาหารนานๆ ชนิดมาจัดใส่ภาชนะพร้อมในการที่จะนำไปถวายวัด เพื่อจุดประสงค์ ที่จะอุทิศ ส่วนบุญแด่บรรพบุรุษ ที่จัดขึ้นในวันแรม ๑ ค่ำ หรือเดือนสิบ และยังเชื่อกันว่า จะต้องถวาย ห ม รับ เล็ก ส่วนการจัด ห ม รับโตนั้นจะจัดและนำไปถวายวัด ในวันแรม ๑๓ - ๑๔ -และ๑๕ ในเดือนสิบนั้นเอง จึงถือว่าวันเวลาดังกล่าวมีความสำคัญมาก การแสดงออก 
  • ช่วงเวลา
เทศกาลเดือนสิบ แรมสิบสาม - สิบสิบสี่และสิบห้าค่ำ เดือนสิบ 
  • การแสดงออกทางความเชื่อ
วิธีการจัด ห. ม. รับนั้น จะมีความแตกต่างโดยปัจจัยหลายๆ อย่าง อาทิเช่นปัจจัยด้านยุคสมัยรูปแบบแต่โบรานั้นจะมีความพิถีพิถัน เช่น การเลือกใช้ภาชนะในอดีตจะใช้กระจาด แต่ในปัจจุบันนั้นจะเป็นถาดที่ทำจากสแตลเลดส์ สังกะสีแทนในปัจจุบัน ซึ่งองค์ประกอบในการสร้างแนวคิดยังได้สรอดแทรกแนวคิด แบบลักษณะความเชื่อ เช่นในสมัยเก่านั้นจะใช้ข้าวรองกระบุบ แล้วใส่หัวหอมแดง กระเทียม แล้วจึงใส่อหารคาวหวาน ที่จัดเรียงเป็นในรูปแบบศิลปะการจัดอาหารในเทศกาลโดยแท้ อย่างเชนการนำมะพร้าว ผักมัน กล้วย อ้อย ข้าวโพด และยังมีการนำของใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น หมอ กะทะ รวมถึงของชิ้นเล็กๆ เช่น ถ้วย ชาม และน้ำมันก๊าด หมาก พูล กานพูล การบูร พิมเสน ยาเส้นบุหรี่ เป็นต้น ดังนั้น สิ่งต่างๆ ได้กล่าวมาแล้วนั้น ยังบ่งถึงองค์ประกอบทางภาพลักษณ์ ลักษณะภายนอกแต่สิ่งต่างๆนั้นยังได้บอกถึงคุณค่าด้านความเชื่อ ที่ถ่านทอดแนวคิดมาเป็นกิจกรรม แม้แต่แนวคิดการสร้างสรรจินตนาการทางความคิดที่เป็นหัวใจหลัก การจัด ห ม รับ ได้แก่ของที่ใช้ต่างๆ นั้น ส่วนใหญ่ดังที่กล่าวมาแล้วนั้น จะเป็นการจัดทรัพยากรณ์ในท้องถิ่นโดยการนำเครื่องใช้มาสรรสร้างเป็น ห. ม. รับ โดยการพิจารณา ที่เชื่อว่าจะใช้สิ่งของที่ผู้ที่ล้วงลับไปแล้วนั้นเป็นสิ่งของการจัด ห ม รับ นั้นเอง จึงอาจสรุปได้ว่าเป็นจุดที่ดึงดุดที่แผงเร้นในเทศการเดือนสิบ ยังมีคุณค่าอื่นๆ อีกอทิเช่น การจักห ม รับนั้นจะจักกันเป็นครอบครัว หรือการจัดรวมหมู่ญาติส่วนใหญ่ และเป็นกลุ่มหมู่คณะจะมีการเรียกการจัดในลักษณะนี้ว่า ห ม รับใหญ่ ดังที่ปรากฏ